วันศุกร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2557

 
 
บันทึกอนุทินครังที่9
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 14  ตุลาคม พ.ศ. 2557
เวลา 08.30-12.20 น.
 
 
กิจกรรมวันนี้  
 
อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอของเล่นเกี่ยวกับวิทยาสาสตร์ของแต่ละคน  วันนี้ดิฉันไม่ไ้ด้เตรียมของเล่นมาเลยไม่ได้นำเสนอ  แต่อาจารย์ก็ยังให้โอกาศให้มานำเสนอในสัปดาห์ต่อไป แล้วเอาข้อบกพร่องของเพื่อนไปปรับปรุงแล้วทำให้ดีกว่าของเพื่อน 
 
 
สิ่งประดิษฐ์ของเพื่อน










































เทคนิคการสอน

อาจารย์ร่วมกันสนทนากับนักศึกษามีการถามคำถามปลายเปิดให้นักศึกษาได้คิดแสดงความคิดเห็นแม้จะถุูกหรือผิดอาจารย์ก็ไม่ปิดกั้นความคิดของนักศึกษาแค่บอกแนวทางและวิธีการแก้ไขแล้วนำไปปรับปรุงให้ดีขึ้น



ประเมินตอนเอง 

 ตั้งใจฟังอาจารย์ให้ความรู้แล้วก็ตั้งใจฟังเพื่อนๆที่ออกมานำเสนอทุกคนเพื่อนจะได้นำไปปรับใช้กับของเล่นของตัวเอง
 
ประเมินเพื่อน

เพื่อนๆทุกคนเตรียมของเล่นมาพร้อมอย่างตังใจและฟังความคิดเห็นของซึ่งกันและกัน 

 ประเมินอาจารย์ 

อาจารย์เตียมการสอนมาเป็นอย่างดีแล้วให้ความรู้และแนวคิดมากมายให้กับนักศึกษาไปปรับปรุงแก้ไข



























 
 
 
 
บันทึกอนุทินครังที่8
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่  7 ตุลาคม  พ.ศ. 2557
เวลา 08.30-12.20 น.







**ไม่มีการเรียนการสอน  สอบกลางภาค 




บันทึกอนุทินครังที่7
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 30  กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลา 08.30-12.20 น.
 กิจกรรมในวันนี้ 
     
       กิจกรรมที่ 1 ลูกบอลยาง 
อุปกรณ์ 
1.กระดาษหน้าปก (Paper)
2.กรรไกร (Scissors)
3.คลิปหนีบกระดาษ (Paperclip)


ขั้นตอนการประดิษฐ์
1.นำกระดาษที่ได้มาพับครึ่งแล้วนำกรรไกรมาตัดเป็นแนวตรงยาวใช้ชิดกับรอยพับครึ่งกระดาษ
2.พับแนวบนของกระดาษเข้ามา 1 เซนติเมตร 
3.นำคลิปหนีบกระดาษมาหนีบไว่ส่นบนที่พับเข้ามา จากนั้นกางปีนส่วนที่โดนตัดออกไปคนละข้างกัน 
4.นำมาทดลองเล่น โดยการดยนและทำให้กระดาษหมุน 


อาจารย์ให้เพื่อนออกไปสาธิตการโยนของแต่ละคนให้ดู จะสังเกตได้ว่าการหมุนของกระดาษแต่ละคนลงมาสู้พื้นไม่เหมือนกัน 





**อ้างอิงภาพมาจาก นางสาว นิตยา ใยคง เลขที่ 23
 กิจกรรมที่ 2  แกนกระดาษทิชชู
อุปกรณ์
1.แกนกระดาษทิชชู 
2.กระดาษตัดเป็นรูปวงกลม
3.ไหมพรม 
4.กาว
5.กรรไกร
6.สี
7.ที่หนีปกระดาษเป็นรู 
ขั้นตอนการประดิษฐ์
1.นำแกนกระดาษทิชชูมาตัดครึ่งแล้วนำที่หนีปกระดาษมาเจาะรูสองข้างให้เท่ากันจะได้ออกมา 4 รู 
2.นำกระดาษวงกลมมาแปะตรงแกนกระดาษทิชชู วาดรูปตามจินตนการของตัวเองให้สวยงาม
3.นำไหมพรมมาร้อยกับแกนกระดาษทิชชูให้สามารถห้อยคอเราได้
4.จากนั้นก็นำมาเล่น ทำยังไงให้แกนกระดาษทิชชูเลื่อนขึ้น-ลง ไปมาได้ 




เพื่อนนำเสนอบทความ 5 คน 16-20

 เทคนิคการสอนของอาจารย์

อาจารย์ให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดอย่างอิสระ ให้นักศึกษาคิดเองว่าจะทำอย่างไรให้สิ่งของเหล่านี้เคลื่อนที่ไ้ด้เอง ให้สังเกตและลงมือปฏิบัติ ลงมือทำเอง อาจารย์จะค่อยช่วยเหลืออยู่ห่างๆถ้าไม่เข้าใจก็ให้มาถามแต่จะไม่บอกวิธีการเล่นจะให้นักศึกษาคิดเอง

การนำไปประยุกติใช้

สามารถนำเอาสิ่งที่อาจารย์สอนไปใช้สอนกับเด็กได้จริง เพราะว่าเป็นสิ่งที่เด้กสามารถทำเองไ้ด้และเป็นวัสดุุุที่หาง่ายและอยู่ใกล้ตัวเด็กและเด็กยังได้ใช้ความคิดและเกิดการเรียนรู้ในตัวเองเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย

ประเมินตนเอง -

ประเมินเพื่อน - 

ประเมินอาจารย์ - 
  
หมายเหตุ เนื่องจากสัปดาห์นี้ไม่ได้มาเรียน ลาป่วยไม่สบาย เลยอ่านข้อมูลของเพื่อนแล้วนำมาเป็นความคิดของตัวเองบ้างบางส่วน  


**นำข้อมูลมจาก  นางสาวสรวงกมล   สุเทวี   เลขที่ 20 





บันทึกอนุทินครังที่6
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 23  กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลา 08.30-12.20 น.
 
ความรู้ที่ได้รับ
 
อาจารย์สอนเกี่ยวกับเรื่องทฤษฎีการสร้างความรู้ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวข้องกับเด้กปฐมวัย อย่างไร ?  และเพื่อนออกมานำเสนอบทความ 
 
 









กิจกรรมที่ทำในวันนี้ 
อาจารย์มีกระดาษมาให้เป็นรูปนกกับผีเสื้อ ให้นักศึกษาเลือกคนละ 1 รูป จากนั้นตััดตามภาพ แล้วกระดาษที่เหลือมาดัดแปลงทำให้เป็นรุปที่สอดคล้องกัน
 



 
กิจกรรมต่อมาอาจารย์นำตัวอย่างของการสังเกตของแสง โดยทำจากแกนกระดาษทิชชู่ มาให้นักศึกษาแต่ละคนดูซึ่งเป็นสิ่งที่นักศึกษาประดิษฐ์ขึ้นเองได้และสอนให้เด็กปฐมวัยทำเองได้อีกด้วยเป็นวัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ง่าย





       อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 5 คนแล้วทำ Mind Map กลุ่ม ชองดิฉันทำเรื่อง กล้วย 

 



การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ที่อาจารย์นำมาให้ทำและดูไปใช้สอนเด็กปฐมวัยได้จริงเพราะเป็นสิ่งที่เด็กสามารถทำเองได้และยังสอนเรื่องการนำการนำวัสดุที่เหลือใช้มาใช้ประโยชน์ได้เด็กก็จะได้เรื่องการพอเพียง


ประเมินตนเอง 
 
แต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบเข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์สอน 
 
ประเมินเพิ่อน 
 
เพื่อนตั้งฟังที่อาจารย์สอนเป็นอย่างดีบางคนแต่บางคนก็มีเล่นมีคุยกัยกันบ้างบางคนเท่านั้น
 
ประเมินอาจารย์ 
 
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา เตรียมสื่อการสอนมาให้นักศึกษาทำอย่างครบถ้วนทุกคนไม่มีนักศึกษาคนไหนไม่ได้ทำเลยสักคน


บันทึกอนุทินครังที่5
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 16  กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลา 08.30-12.20 น.


ความรู้ที่ได้รับ 

อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรม  ให้นักศึกษาดู CD เรื่องความลับของแสง และสรุปเนื้อหา
   


ความลับของแสง
ถ้าไม่มีแสงคนเราก็จะมองอะไรไม่เห็นในเวลาไฟดับจะสังเกตได้ว่าสายตาของเราจะค่อยๆปรับแสงให้เข้ากับความมืด พอไฟมาจะยังคงพร่ามัวเราต้องรอให้สายตาปรับสมดุลก่อนจากนั้นจะมองได้ชัดเอง
แสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่ง แสงเคลื่อนที่ได้เร็วมาก300,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

การทดลอง
นำกล่องมาเจาะรูแล้วนำวัตถุมาใส่ลงไปในกล่อง  จากนั้นปิดฝากกล่อง เราสังเกตได้ว่าในกล่องมืดมากเรามองวัตถุข้างในกล่องไม่เห็น จากนั้นเราเจาะฝากกล่องอีก 1 รู ปิดฝากกล่อง แล้วนำไฟฉายมาส่องในรูปให้กระทบกับวัตถุจะเห็นได้่าเรามองเห็นได้ชัดเจน 
สรุปได้ว่า แสงต้องมีการสะท้อนของวัตถุมายังสายตาเราจึงสามารถมองเห็นวัตถุสิ่งของนั้น


วัััตถุต่างๆในโลก มี 3 ชนิด วัตถุโปร่งแสง  วัตถุโปร่งใส    วัตถุทึบแสง

การหักเหของแสง(Refraction of light) แสงจะเปลี่ยนทิศทางในการเคลื่อนที่เพราะแสงเดินผ่านวัตถุตัวกลาง เช่น เมื่อแสงเดินทางผ่านอากาศเข้าสู่ตู้กระจกที่มีน้ำ น้ำจะมีความหนาแน่นกว่าอากาศ ทำให้แสงเคลื่อนที่ช้ากว่าอากาศเส้นของแสงก็จะหักเห
ตอนฝนตกเราก็จะเห็นรุ้งกินน้ำเพราะรุ้งกินน้ำเกิดจากการหักเหของแสง

เงา (Shadow) เป็นสิ่งที่คู่กันของแสงเสมอ เงาเกิดขึ้นได้เพราะแสง เงาของวัตถุจะเกิดขึ้นจากแสงที่เดินทางเป็นเส้นตรงไปเรื่อยๆ

การนำไปประยุกต์ใช้
 สามารถนำ วีดีโอเรื่องความลับของแสงไปใช้สอนเด้กปฐมวัยได้จริงเด็กจะได้รู้เกี่ยวการเกินทางของแสงการโปร่งแสง การทึบแสง การของเงาที่มีแสงมากระทบถึงจะเกิดเงาได้ ซึ่งทดลองสามารถทำได้จริง

การประเมิน

ประเมินตนเอง  

ตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบมายอย่างเต็มที่อาจจะช้าไปหน่อยสำหรับการดูความลับของแสง

ประเมินเพื่อน 

เพื่อนๆตั้งฟังที่อาจารย์มอบหมายงานแล้วกลับไปทำทุกคน

ประเมินอาจารย์

อาจารย์สั่งงานไว้ให้ทำเพราะอาจารย์ติดธุระราชการ